You are currently viewing ดื่มหนักมา 10 ปี หยุดดื่มตอนนี้ใครว่ารอด ไขมันพอกตับ ภัยเงียบที่อยู่กับคุณในทุกแก้ว!

ดื่มหนักมา 10 ปี หยุดดื่มตอนนี้ใครว่ารอด ไขมันพอกตับ ภัยเงียบที่อยู่กับคุณในทุกแก้ว!

แอลกอฮอล์เป็นเครื่องดื่มที่ส่งผลกระทบต่อร่างกายหลายอย่าง โดยอวัยวะที่ได้รับผลกระทบจากแอลกอฮอล์โดยตรงคือ “ตับ” 

แม้หยุดดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์แต่ยังเสี่ยงไขมันพอกตับ เพราะ?

อย่างที่กล่าวไปข้างต้น แอลกอฮอล์ส่งผลเสียต่อตับ หากดื่มบ่อย หรือดื่มมาเป็นเวลานาน ก็จะยิ่งเข้าไปทำร้ายเซลล์ของตับ โดยการเข้าไปกระตุ้นให้มีไขมันสะสมในตับ และเกิดอักเสบของตับ

 

ซึ่งไขมันพอกตับ ถือเป็นภัยเงียบ เพราะไม่แสดงอาการ แต่ในบางรายก็มีอาการเล็กๆ น้อยๆ เช่น 

✔ท้องอืด แน่นท้อง 

✔เจ็บชายโครงขวา 

✔อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย เป็นต้น

 ซึ่งเป็นอาการที่ไม่ชี้เฉพาะเจาะจงว่าเป็นอาการของโรคใด จึงทำให้คนที่เป็นไขมันพอกตับส่วนใหญ่มักไม่รู้ตัว และเมื่อรู้ตัวอีกทีก็สายเกินแก้เสียแล้ว

 

โดยสาเหตุของ “ไขมันพอกตับ” แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม 

1. เกิดจากการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ : ความรุนแรงของภาวะตับขึ้นอยู่กับประเภท, ปริมาณ และระยะเวลาที่ดื่มแอลกอฮอล์

2. เกิดจากการทานอาหาร หรือจากภาวะที่เกี่ยวข้องกับการใช้พลังงานของร่างกาย เช่น ภาวะอ้วน, เบาหวาน, ความดันโลหิตสูง, ไขมันในเลือดสูง, ไวรัสตับอักเสบซี

 

แม้ว่าตับจะเป็นอวัยวะที่สามารถฟื้นฟูตัวเองได้ แต่ตับที่ถูกทำลายมาเป็นระยะเวลานาน จึงฟื้นตัวได้ช้า และเมื่อเป็นไขมันพอกตับแล้ว ไม่ดูแลเสี่ยงเกิด “ตับแข็ง” และร้ายแรงถึงขั้น “มะเร็งตับ” และที่สำคัญยังสามารถเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ตามมาได้อีกด้วย เช่น ดีซ่าน, ท้องมาน, หัวใจ, หลอดเลือด อาจถึงขึ้น ตับวายจนเสียชีวิตได้

 

ดังนั้น หากเป็นสายดื่มหนัก แม้หยุดดื่มแล้ว ก็อย่าละเลยตับ และควรหันมาใส่ใจตับก่อนสายเกินแก้ด้วยผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเกี่ยวกับตับ เช่น “ลิฟพลัส” ที่จะเข้าไปซ่อมแซมตับ เมื่อตับแข็งแรง ก็จะสามารถลดความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะร้ายขึ้นในอนาคตได้

 

“ลิฟพลัส” มีสารสกัดที่ดีต่อตับ 12 ชนิด เช่น แดนดิไลออน, อาร์ติโช๊ค, ขมิ้น, โสมเกาหลี, เห็ดหลินจือ เป็นต้น

✅  ซ่อมแซมตับ

✅  ท้องอืด แน่นท้อง

✅  อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย

✅  เจ็บชายโครงขวา

✅  ท้องป่อง ท้องมาน

✅  ไขมันพอกตับ

✅  เสริมการทำงานของตับทั้งระบบ

สนใจสอบถาม โทร : 098-264-2464 หรือ LINE : @livplusthailand หรือคลิก >> http://bit.ly/LINE-LIV_031

 

 

 

ข้อมูลอ้างอิง

โรงพยาบาลรามาธิบดี : https://www.rama.mahidol.ac.th/ramachannel/article/13595/

โรงพยาบาลกรุงเทพ : https://www.bangkokhospital.com/content/fatty-liver

โรงพยาบาลบํารุงราษฎร์ : https://www.bumrungrad.com/th/conditions/fatty-liver-disease

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมหรือโทรสั่งซื้อสินค้า

ใส่ความเห็น