3 เรื่องสุดช็อคสำหรับคนเป็นไขมันพอกตับ
ช็อคที่ 1 : ไขมันพอกตับนั้น ทางการแพทย์ยัง “ไร้ยารักษา”
ช็อคที่ 2 : ไขมันพอกตับเมื่อเป็นแล้วไม่ดูแลสุขภาพ ชะล่าใจ จนไขมันสะสมนานเข้าสามารถพัฒนาเป็น “ตับแข็ง” และร้ายแรงถึงขั้น “มะเร็งตับ” ได้
ช็อคที่ 3 : หากเป็นถึงขั้นมะเร็งตับแล้ว “มักมีชีวิตอยู่ได้เพียง 3-6 เดือน” เท่านั้น
ซึ่งไขมันพอกตับ เป็นกลุ่มของโรคที่เกิดจากการสะสมไขมัน ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในรูปของไตรกลีเซอไรด์ในเซลล์ตับ โดยสาเหตุของการเกิดภาวะไขมันพอกตับ คือ
1.จากการดื่มแอลกอฮอล์ เมื่อดื่มแอลกอฮอล์ติดต่อกันในปริมาณมาก จึงทำลายเซลล์ตับ จนตับไม่สามารถทำงานได้ปกติ ทำให้เกิดการสะสมของไขมันที่ตับ เป็น “ไขมันพอกตับ”
2.จากปัจจัยอื่นๆ คือ
2.1.การทานอาหารที่ให้พลังงานสูง มีไขมัน หรือน้ำตาลเยอะเกินที่ร่างกายต้องการ เช่น ของมัน ของทอด ชานม ขนมเค้ก เป็นต้น
2.2.โรคที่เกี่ยวข้องกับการใช้พลังงานของร่างกาย เช่น โรคอ้วน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง ไวรัสตับอักเสบซี
2.3.ผลข้างเคียงจากยาบางชนิด เช่น ยาเคมีบำบัดรักษาโรคมะเร็ง ยาปฏิชีวนะบางชนิด ยาต้านไวรัสบางชนิด ยากลุ่มสเตียรอยด์ ยาต้านกลุ่มฮอร์โมน
.
ภาวะเบื้องต้นของไขมันพอกตับ คือ
✔️ท้องอืด แน่นท้องบ่อย
✔️จุกแน่น จนไม่อยากทานข้าว
✔️เจ็บชายโครงขวา
✔️อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
.
ดังนั้นหากใครที่มีภาวะอย่างที่กล่าวมา หรือรู้ตัวว่าเป็นไขมันพอกตับในระยะต้น ควรรีบใส่ใจดูแลสุขภาพตับดังนี้
1.หลีกเลี่ยงอาหารไขมันสูง ลดอาหารจำพวกแป้ง, คาร์โบไฮเดรต, อาหารมันๆ, อาหารทอด, และน้ำตาล เพิ่มโปรตีนที่มีคุณภาพ และผักต่างๆ ให้มากขึ้น เช่น อาร์ติโช๊ค, ขมิ้น, เห็นหลิดจือ, เห็ดซิตาเกะ, โสมเกาหลี เป็นต้น
2.ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ โดยคำนวณจากดัชนีมวลกาย
3.ออกกำลังกายเป็นประจำ อย่างน้อยครั้งละ 45 นาที 3-4 ครั้งต่อสัปดาห์
4.ลดการดื่มแอลกอฮอล์ให้อยู่ในปริมาณที่เหมาะสม โดยปริมาณแอลกอฮอล์ที่พอรับได้ สำหรับผู้ชาย คือไม่เกิน 2-3 แก้ว/วัน และสำหรับผู้หญิง คือ 1-2 แก้วต่อวัน
5.ไม่ควรทานยาบ่อย ทานเท่าที่จำเป็น และควรหลีกเลี่ยงยาที่ไม่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์
6.ควรลด หรือเลิกสูบบุหรี่ เป็นต้น
.
รีบดูแลสุขภาพตับก่อนสายเกินแก้ ด้วยความห่วงใยจาก “ลิฟพลัส”
.
“ลิฟพลัส” มีสารสกัดธรรมชาติ ถึง 12 ชนิด เช่น อาร์ติโช๊ค แดนดิไลออน ขมิ้น โสมเกาหลี เป็นต้น เสริมการทำงานของตับและระบบทางเดินอาหารกลับมาทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ สนใจสอบถาม โทร : 098-264-2464 หรือ LINE : @livplusthailand หรือคลิก >> http://bit.ly/LINE-LIV_031
ข้อมูลอ้างอิง
Bumrungrad Hospital : https://bit.ly/3WT12io
Siphhospital Hospital : https://bit.ly/3Z0FD8N
Phyatha Hospital : https://bit.ly/402r70G
Bangkok Hospital : https://bit.ly/3HuwL4l
Samitivej Hospital : https://bit.ly/3DgaIfc